After obcurity, hope is born
See English version by Laurie Graham at : อ่านภาษาอังกฤษที่ข้างล่างนี้
http://helpanoperation.blogspot.fr/
See English version by Laurie Graham at : อ่านภาษาอังกฤษที่ข้างล่างนี้
http://helpanoperation.blogspot.fr/
Après l'obscurité, l'espoir renaît......
Lors de notre premier voyage en
Thaïlande, Guy et Montri nous racontent l’histoire
d’une petite fille, Chanitporn, pas encore parrainée. Elle vit avec sa maman,
Mlle Surachana PIMPA, aveugle et sa grande sœur, Pornapat, déjà parrainée par
des membres de l’Association des Amis du Vieux Tamarin. Nous avons été émus par
son histoire. Sans hésiter, nous avons accepté de parrainer cette enfant, nous
qui étions candidats au parrainage depuis quelques temps déjà. Nous souhaitions
bien sûr voir le cadre de vie de Chanitporn. Nous sommes donc allés à la
rencontre de cette famille avec quelques amis présents de l’Association.
Chanitporn, sa maman et sa sœur vivent en communauté avec des tantes, cousins
et cousines. Il y a beaucoup d’entraide dans cette famille pauvre.
จากความมืดมลความหวังเริ่มเกิดขึ้น
นับว่าเป็นครั้งแรกที่พวกเราเดินทางไปเที่ยวเมืองไทย กีย์ และ มนตรีบอกเล่าเรื่องของ เด็กหญิง
ชนิภรณ์ คำพร ที่ยังไม่มีใครให้ทุนการศึกษา ที่อาศัยอยู่กับคุณแม่ (นาง สุรัชนา
พิมพา)ที่ตาบอด และพี่สาวเธอ ที่ชื่อว่า พรนภัส คำพร ที่มีคนรับไว้อุปถัมถ์จาก
สมาคม เพื่อนๆมะขามเฒ่าแล้ว พวกเราฟังเรื่องที่เล่ามาแล้ว ต่างก็มีความสงสารมาก
พวกเราจึงสมัครรับเป็นพ่อแม่บุญธรรมเด็กโดยไม่ได้ ติดติตรองอะไรทั้งสิ้น เพราะถึงอย่างไร
เมื่อก่อนหน้าที่จะเดินทางมาเที่ยว
พวกเราพร้อมแล้วและสมัครที่จะรับส่งเด็กยากจนเรียนกับสมาคมนี้อยู่แล้ว
แน่ละพวกเรายากจะไปเห็นสภาพการเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัวด้วยสายตาของเราเอง
เราไปพบกับครอบครัวนี้พร้อมๆกับเพื่อนของสมาคมที่เดินทางมาด้วยกัน เราเห็น ว่าครอบครัวนี้อยู่ด้วยกันหลานๆคน เช่น
ตา ยาย ป้า น้า และลูกๆหลานๆ และเราเห็นได้ว่าต่างคนต่างก็ช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี
และอยู่กันไปตามประสาของครอบครัวที่ยากจน
Nous faisons la rencontre de
cette femme entourée de ses petites filles. Quelle émotion pour nous tous de
voir cette maman, le regard vague, qui esquissait un sourire à notre arrivée.
Chanitporn la tenait par le cou.
Pornapat, sa sœur était aussi assise aux côtés de sa maman. Malheureusement, cette mère ne
peut voir, ni même percevoir ses filles. Elle ne peut que ressentir leur
présence. C’est émouvant. En raison de sa
cécité, cette maman seule (le papa a quitté le domicile depuis quelques années)
ne peut pas travailler pour faire vivre sa famille. Sa situation est précaire,
elle reçoit une pension mensuelle de 500 baths liée à l’affection dont elle est
atteinte. Le parrainage des deux petites est une
bonne chose mais celui-ci ne suffit pas à leur épanouissement. Elles doivent pouvoir partager le quotidien avec
leur maman, comme tous les autres enfants.
พวกเราเห็นและทำความรู้จักกับ นาง
สุรัชนาแม่เด็กและลูกสาวของเธอทั้งสอง ทำให้เราตื้นตันใจมาก
ที่เห็นสายตาของผู้หญิงที่เป็นแม่ยังอยู่ในวัยยังสาว เธอมองมาทางเราด้วยสายตาว้างแว้ง
พร้อมกับรอยยิ้ม ในขณะที่ลูกสาวทั้งสองนั้งกอดคอแม่อยู่อย่างหน้าสังสาร เสียดายที่เธอตาบอดมองเราไม่เห็น
และแม้แต่ลูกเธอทั้งสองคนก็จำได้แต่เสียงเท่านั้น สามีของเธอทอดทิ้งไปและปล่อยลูกทั้งสองให้อยู่กับเธอตามลำพังมาหลายปีแล้ว
เธอไม่สามารถจะทำงานได้ แต่ก็ได้รับค่าเลี้ยงดูจากรัฐบาล
เดือนละ 500 บาท การส่งลูกของเธอเรียนทั้งสองคนนั้น มันเป็นประโชนย์มาก
สำหรับเธอและครอบครัวถึงแม้ว่าจะไม่พอสำหรับเลี้ยงชีพประจำวันก็ตาม
ฉนั้นทุกๆคนต่างก็ช่วยกันทำงานรวมทั้งเด็กๆด้วย
Profondément touchés par cette
situation, Guy
et Montri ont proposé à cette femme de passer divers examens ophtalmologiques à
Lopburi et aux environs. Nous sommes alors en 2013. L’Association des Amis du
Vieux Tamarin finance donc le coût de ces examens ainsi que les déplacements en
taxi pour elle et un membre de sa famille pour l’accompagner. Malheureusement,
il ressort peu d’espoir de ces examens médicaux. Un glaucome est diagnostiqué,
il n’existe pas de traitement curatif et aucune opération ne peut être
envisagée. Seules des gouttes oculaires seront
prescrites pour tenter de ralentir les dommages. Suite à ces examens peu
encourageants, cette maman se résigne donc à apprendre le braille puis à faire
un stage de formation de massage en 2014
auprès d’une association pour aveugles à Bangkok. Elle profite de ces
déplacements à la capitale pour consulter d’autres ophtalmologues.
พวกเราต่างก็สงสารและเห็นใจในฐานะการเป็นอยู่ของครอบครัวนี้
คุณกีย์และ คุณมนตรีจึงตัดสินใจให้แม่เด็กไปตรวจสายตา ดูว่าพอจะมีการผ่านตัดหายบ้างหรือเปล่า เธอก็ไปตรวจตาตามที่ต่างๆแถวๆ จัดหวัด ลพบุรี
และใกล้เคียง ในปี คศ 2013 โดยสมาคม
เพื่อนๆมะขามเฒ่ารับอาสาจะจัดการจ่ายค่าใช้จ่ายให้ การไปตรวจต้องใช้รถ เท็กซี่
และต้องมีคนพาไปด้วย ผลสุดท้าย หมอบอก ตาเธอเป็น ต้อหิน
ไม่มีความหวังที่จะทำการผ่าตัดได้ หมอให้เพียงแค่ยาสำหรับหยอดตาแค่นั้น ต่อมา สุรัชนาจึงสมัครไปเรียนเป็นหมอนวดกับสมาคมสอนคนตาบอด
โดยที่ทางสมาคมคนตาบอดจัดสอนให้ฟรี่ เพื่อจะได้นำเอาไปประกอบอาชีพได้บ้าง
และในระหว่างที่เธอไปเรียน ที่กรุงเทพๆ เธอจึงถือโอกาสไปหาแพรทย์เกี่ยวกับสายตาโดยเฉพาะที่โรงพยาบาล
รามา
Début 2015, l’évolution de la
médecine aidant, une lueur d’espoir renait. Un premier rendez-vous est
programmé à l’hôpital RAMA de Bangkok en mai 2015 et suite à cet examen, une
opération est envisagée. Il s’en suit plusieurs
rendez-vous pour préparer dans un premier temps une opération de la cataracte
le 18/08/2015. Réussite de cette intervention, la patiente perçoit plus de
lumière qu’auparavant. A ce stade, l’Association a décidé de réagir et de
prendre en charge tous ses frais (environ 29 500 baths).
ในตอนปี คศ 2015 การแพรย์ มีประสิทธิภาพดีขึ้น
คุณหมอนัดให้ไปรักษาตาที่โรงพยาบาล รามา และความหวังก็เริ่มจะเห็นเป็นลางๆ
หลังจากตรวจสอบดูแล้ว คุณ หมอทำการผ่านตัดเล็นตา ก่อนผ่าตัดต้องมีการรักษาภายในดวงตารวมทั้งยาล้างตาต่างๆ และวันที่ 18/08/2015
การผ่าตัดเปลือกของเล็นตาสำเร็จขึ้นได้อย่างดี คนป่วยเริ่มจะเห็นแสงสว่างเป็นรางๆ
ค่าทำการผ่านตัดทั้งหมด 29 500 บาท ที่สมาคมจ่ายให้เป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมด
Reste à traiter le glaucome.
Nouveau rendez-vous chez l’ophtalmologue, qui
envisage la pose d’un implant pour remplacer le
cristallin de ses yeux. Cette intervention devrait permettre à cette
personne de recouvrer la vue à 60 %. Le
seul problème reste le coût très élevé de l’opération : 65 000 baths,
sachant que les lentilles doivent être commandées aux Etats-Unis. Aussitôt, Guy et Montri font part de cette nouvelle
perspective d’intervention aux membres de l’Association. Ils souhaitent les
consulter pour savoir s’il est possible de poursuivre l’aide financière pour
ces nouveaux frais médicaux. La réponse ne s’est pas faite attendre, Les Amis du Vieux Tamarin acceptent de
prendre en charge l’opération du glaucome. L’Association va donc remettre
100 000 baths à nos représentants à Makhamtao pour financer l’ensemble des
visites ophtalmologiques et l’opération des yeux de cette jeune maman.
L’intervention a été réalisée en novembre. Les résultats sont très
satisfaisants, la récupération visuelle est au final de 70 %.
หลังจากนั้นก็มีการให้ยาแก้ต้อหิน
หมอนัดไปพบใหม่
และบอกว่าถ้ามีการผ่าตัดและใส่เล็นในดวงตาจะมีความหวังที่จะเป็นประมาณ 60 % และการผ่าตัดจะต้องใช้เงินมาก
คือประมาณ 65 000 บาท เพราะจะตั้งสั่งเล็นมาจากประเทศอเมริกา หลังจากรายงานผลให้
มนตรี และกีย์เสร็จ มนตรีและกีย์ นำไปปรึกษา สมาสิกของสมาคมเพื่อขอความเห็น
ว่าจะช่วยเหลือต่อได้หรือเปล่า ผลที่สุดทุกๆคนตกลงช่วยเหลืออีก มนตรี สั่งให้คุณครูมด ที่เป็นคนที่ทำรายงาน
รายละเยีดดและติดตามผมในการผ่านตัดมาตลอด ให้อนุมัติใช้เงิน
จำนวนนี้มาให้ช่วยในการผ่าตัดรักษาตา และไม่นานมานี้
การผ่าตัดก็ได้ผ่านไปได้อย่างดี และ ขณะนี้ ตาของคนป่วยสามารถมองเห็นแล้ว 70 %
Cet élan de générosité montre à
quel point l’engagement de l’Association des Amis du Vieux Tamarin, à commencer
par Guy et Montri, est très fort pour ces familles de Makhamtao. Grâce à eux,
la vie de Surachana et de ses deux filles va considérablement changer.
สมาคม ของเพื่อนๆมะขามเฒ่า และ คุณมนตรีได้ให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือครอบครัวนี้เป็นอย่างดี
และจากความช่วยเหลือของเขา และนับว่าเป็นบุญกุศลของ ผู้หญิงตาบอกได้มองดูโลกได้
แน่ล่ะต่อจากนี้ไป สภาพการเป็นอยู่ของ สุรัชนา
และลูกของเธอเปลียนไปอย่างไม่เคยคิดไม่เคยฝันมาก่อน
Par Marie-Anne BODIN
แปลโดย มนตรี
Les Amis du Vieux Tamarin
http://amisduvieuxtamarin.blogspot.fr/
http://amisduvieuxtamarin.blogspot.fr/